Maker Education คืออะไร
ในห้องเรียนทั่วไป ไม่สามารถสร้างบรรยากาศที่จะช่วยให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมอะไรขึ้นมาได้ ยกตัวอย่าง โรงรถของสตีฟ จอบส์ ที่ใช้เป็นที่ผลิตไอโฟนต่างๆ ซึ่งไม่ใช่ห้องเรียน นวัตกรรมไอโฟนเกิดขึ้นได้ เพราะสตีฟ จอบส์ ใช้วิธีของการค้นคว้า หาความรํู้ในการสร้างนวัตกรรมต่างๆ ขึ้นมา
เพราะฉะนั้นห้องเรียนที่สร้างนวัตกรรม จะเป็นห้องเรียนที่กลายร่างจากห้องเรียน Lecture ที่ให้ความรู้อย่างเดียว หรือเด็กนั่งฟังอาจารย์ แต่เป็นห้องเรียนที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำ ได้ทดลองใช้ ได้ทดลองคิดสิ่งต่างๆ และสร้างความรู้เหล่านั้นด้วยตนเอง
Maker Movement หรือ Maker Culture คืออะไร
เรียกว่า “วัฒนธรรมทำเอง” หมายถึง ศักยภาพของมนุษย์ทุกคนในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เลยกลายเป็น Culture ตัวอย่างเช่น ห้องเรียนที่จังหวัดภูเก็ต ที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเองซึ่งในปัจจุบัน มีห้องเรียน 150 ห้องเรียน Makerspace ทั่วประเทศไทย โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนโรงเรียนเหล่านั้น
การเรียนในรูปแบบของ Education
ใช้กระดาษลัง มาประกอบเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นมา
ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่หรูหรา หรือมีราคาแพง
นำวัสดุอุปกรณ์ใกล้ตัวเพื่อการเรียนรู้ เช่น กระป๋อง ลัง
Maker & DIY
ย่อมาจากคำว่า DIY หรือ Do It by Yourself หมายถึง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง
ซึ่งคนไทยมีศักยภาพในเรื่องการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น วัดพระแก้ว หรือเรือต่างๆ
ข้อสำคัญของ Maker มี 2 อย่าง
Hands-on การลงมือทำ
Sharing การแบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้กับคนอื่น เช่น การเขียน blog ต่างๆ หรือการจัด Maker Faire
จุดกำเนิดของ Maker Faire
เป็นการนำนวัตกรรมจากทั่วโลกมาโชว์กัน โดยมีการจัดการงานที่มีชื่อว่างาน Bangkok Mini Maker Faire ต้องการให้ผู้ชมเข้ามาเป็น Maker มาสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนขึ้นมา และเป็นการรวบรวมงาน Maker มาจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น
Maker Jam
เป็นงาน Maker ที่มาจากคนไทย จะมีกิจกรรมมากมาย เช่น หุ่นยนต์ รถแข่งต่างๆ โดยสิ่งสำคัญของงานนี้ ต้องการให้คนลงมือปฏิบัติ ลงมือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เพราะเชื่อว่าการลงมือปฏิบัติจะช่วยเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเราเอง และที่สำคัญคือ Life-Long Learning การเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งเวลาเราทำอะไรผิดพลาดในห้องเรียนของ Maker เราสามารถเรียนรู้ และเติบโตขึ้นมาเพื่อเป็นก้าวสำคัญให้เราก้าวข้ามข้อจำกัดของเราไปได้
Maker Education คืออะไร
ในห้องเรียนทั่วไป ไม่สามารถสร้างบรรยากาศที่จะช่วยให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมอะไรขึ้นมาได้ ยกตัวอย่าง โรงรถของสตีฟ จอบส์ ที่ใช้เป็นที่ผลิตไอโฟนต่างๆ ซึ่งไม่ใช่ห้องเรียน นวัตกรรมไอโฟนเกิดขึ้นได้ เพราะสตีฟ จอบส์ ใช้วิธีของการค้นคว้า หาความรํู้ในการสร้างนวัตกรรมต่างๆ ขึ้นมา
เพราะฉะนั้นห้องเรียนที่สร้างนวัตกรรม จะเป็นห้องเรียนที่กลายร่างจากห้องเรียน Lecture ที่ให้ความรู้อย่างเดียว หรือเด็กนั่งฟังอาจารย์ แต่เป็นห้องเรียนที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำ ได้ทดลองใช้ ได้ทดลองคิดสิ่งต่างๆ และสร้างความรู้เหล่านั้นด้วยตนเอง
Maker Movement หรือ Maker Culture คืออะไร
เรียกว่า “วัฒนธรรมทำเอง” หมายถึง ศักยภาพของมนุษย์ทุกคนในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เลยกลายเป็น Culture ตัวอย่างเช่น ห้องเรียนที่จังหวัดภูเก็ต ที่ให้นักเรียนได้ลงมือทำสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเองซึ่งในปัจจุบัน มีห้องเรียน 150 ห้องเรียน Makerspace ทั่วประเทศไทย โดยมีอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนโรงเรียนเหล่านั้น
การเรียนในรูปแบบของ Education
ใช้กระดาษลัง มาประกอบเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นมา
ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่หรูหรา หรือมีราคาแพง
นำวัสดุอุปกรณ์ใกล้ตัวเพื่อการเรียนรู้ เช่น กระป๋อง ลัง
Maker & DIY
ย่อมาจากคำว่า DIY หรือ Do It by Yourself หมายถึง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง
ซึ่งคนไทยมีศักยภาพในเรื่องการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง เช่น วัดพระแก้ว หรือเรือต่างๆ
ข้อสำคัญของ Maker มี 2 อย่าง
Hands-on การลงมือทำ
Sharing การแบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้กับคนอื่น เช่น การเขียน blog ต่างๆ หรือการจัด Maker Faire
จุดกำเนิดของ Maker Faire
เป็นการนำนวัตกรรมจากทั่วโลกมาโชว์กัน โดยมีการจัดการงานที่มีชื่อว่างาน Bangkok Mini Maker Faire ต้องการให้ผู้ชมเข้ามาเป็น Maker มาสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนขึ้นมา และเป็นการรวบรวมงาน Maker มาจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น
Maker Jam
เป็นงาน Maker ที่มาจากคนไทย จะมีกิจกรรมมากมาย เช่น หุ่นยนต์ รถแข่งต่างๆ โดยสิ่งสำคัญของงานนี้ ต้องการให้คนลงมือปฏิบัติ ลงมือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เพราะเชื่อว่าการลงมือปฏิบัติจะช่วยเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเราเอง และที่สำคัญคือ Life-Long Learning การเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งเวลาเราทำอะไรผิดพลาดในห้องเรียนของ Maker เราสามารถเรียนรู้ และเติบโตขึ้นมาเพื่อเป็นก้าวสำคัญให้เราก้าวข้ามข้อจำกัดของเราไปได้
Comments